แนวปฏิบัติที่ดี : การรับ-ส่งเอกสาร และเทคนิคการเขียนหนังสือราชการ ด้านการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงาน เรามีความยินดีที่จะนำเสนอบทความแนวปฏิบัติที่ดีเรื่อง "การรับ-ส่งเอกสาร และเทคนิคการเขียนหนังสือราชการ" จากกองกลาง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ ผู้เขียน: นางศรัญญา อินทร์คำเชื้อ เจ้าหน้าที่งานสารบรรณ กองกลาง บทความนี้นำ... >> อ่านต่อ
แนวปฏิบัติที่ดี : การพัฒนาระบบจัดเก็บและนำเสนอข้อมูลหัวข้อการเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม สำหรับงานส่งเสริมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ด้านการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงาน เรามีความยินดีที่จะนำเสนอบทความแนวปฏิบัติที่ดีเรื่อง "แนวปฏิบัติที่ดีในการพัฒนาระบบจัดเก็บและนำเสนอข้อมูลหัวข้อการเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม สำหรับงานส่งเสริมการประเมินคุณธรรมและความโปร่... >> อ่านต่อ
แนวปฏิบัติที่ดี: การวัดความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา และทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมของนักศึกษาและบุคลากร ด้านการพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงาน เรามีความยินดีที่จะนำเสนอบทความแนวปฏิบัติที่ดีเรื่อง "การวัดความเข้าใจในศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา และทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมของนักศึกษาและบุคลากร" จากศูนย์วัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงใหม่ ผู้เขียน: >> อ่านต่อ
แนวปฏิบัติที่ดี: การบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ด้านการผลิตบัณฑิต เรามีความยินดีที่จะนำเสนอบทความแนวปฏิบัติที่ดีเรื่อง "การบูรณาการงานด้านทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรมกับการจัดการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา" โดยคณาจารย์จากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร เชียงใหม่ ผู้เขียน: >> อ่านต่อ
แนวปฏิบัติที่ดี: กิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการเรียนการสอน “การพัฒนาทักษะบัณฑิตที่พึงประสงค์ในยุคดิจิทัล” ด้านการผลิตบัณฑิต เรามีความยินดีที่จะนำเสนอบทความสรุปกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการเรียนการสอน ในหัวข้อ "การพัฒนาทักษะบัณฑิตที่พึงประสงค์ในยุคดิจิทัล" จัดทำโดยคณะทำงานจากกองการศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง ผู้จัดทำ: นางนิ... >> อ่านต่อ
แนวปฏิบัติที่ดี: การบูรณาการ KM กับการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ด้านการผลิตบัณฑิต เรามีความยินดีที่จะนำเสนอบทความแนวปฏิบัติที่ดีเรื่อง "การผสมผสานการจัดการองค์ความรู้และการเรียนการสอนรายวิชากระบวนการคิดและการแก้ปัญหา ในบริบทของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม" โดยคณาจารย์จากคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีการเกษตร เชียงใหม่ ผู้เขียน: นางสาวรัตนาก... >> อ่านต่อ
เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2567 คณะกรรมการดำเนินงานโครงการออมสินยุวพัฒน์รักษ์ถิ่น มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา (มทร.ล้านนา) ประจำปี 2567 นำโดย อาจารย์ศรีธร อุปคํา รองผู้อำนวยการสถาบันถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน ฝ่ายยุทธศาสตร์การนำไปใช้ประโยชน์ ลงพื้นที่ติดตามผลการดําเนินงานโครงการพัฒนาผลิตภัณฑ์เชิงสร้างสรรค์เพื่อการเชื่อมโยงการท่องเที่ยวชุมชนทากาศวิลเลจ อำเภอแม่ทา จังหวัดลําพูน โครงการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมศักยภาพของกลุ่มชุมชนในด้านการบริหารจัดการและการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้สามาร... >> อ่านต่อ
ความก้าวหน้าของโครงการพัฒนาต้นแบบระบบสลัดน้ำผักด้วยระบบลมเย็นเพื่อสนับสนุนการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผักอินทรีย์ เมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2567 ที่ผ่านมา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก ได้จัดการนำเสนอความก้าวหน้าของโครงการ "พัฒนาต้นแบบระบบสลัดน้ำผักด้วยระบบลมเย็นเพื่อสนับสนุนการแปรรูปผลิตภัณฑ์จากผักอินทรีย์: กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชนผักปลอดภัยจากสารพิษตำบลเกาะตาเลี้ยง อำเภอศรีสำโรง ... >> อ่านต่อ
กลุ่มงานยุทธศาสตร์ SPU ดำเนินการลงพื้นที่ ณ สถานประกอบการเพื่อวิเคราะห์ปัญหาทางเทคนิคในเบื้องต้น (Prelim) --------------------------------------------------------------------------------------- เมื่อวันที่ 10 เมษายน 2567 กลุ่มงานยุทธศาสตร์ SPU งานโปรแกรมสนับสนุนการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม (โปรแกรม ITAP) และงานโครงกา... >> อ่านต่อ
ออกแบบและพัฒนาโดย สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา